ศ.ดร.ศุภจิตรา ชัชวาลย์
ศาสตราจารย์
ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทำงานด้วยความสุขและมีอิทธิบาท 4
พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2538 Ph.D. (Botany) University of Washington, USA
พ.ศ. 2529 พ.ศ.2533 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา พฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2526 ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนราชินี
พ.ศ. 2538 – พ.ศ. 2544 อาจารย์
พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2549 ผู้ช่วยศาสตราจารย์
พ.ศ. 2549 – พ.ศ. 2560 รองศาสตราจารย์
พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน ศาสตราจารย์
พ.ศ. 2533 ผู้รับทุนโครงการพสวท.
พ.ศ. 2539 ผู้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล แผนกวิทยาศาสตร์
พ.ศ. 2550 The third place in Intellectual Property Competition (chitosan based product for application in orchids) โดยกรม. ทรัพย์สินทางปัญญา (ร่วมกับผศ.ดร.รัฐ พิชญางกูร และ ผศ.พัชรา ลิมปนะเวช)
พ.ศ. 2553 Fulbright Thai Visiting Scholar
พ.ศ. 2561 รางวัลนักวิจัยที่ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุดสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ.2559 – ปัจจุบัน หัวหน้าภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ.2550 – พ.ศ. 2559 ผู้ช่วยคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2556 – พ.ศ. 2558 ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์
กรรมการและเลขานุการโครงการโรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ดีเด่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (โครงการรางวัลบัณณาสสมโภช) (2546 – ปัจจุบัน)
วิทยากรการอบรมค่าย สอวน. (ชีววิทยา) ภาคบรรยายและปฏิบัติการ เรื่องการสังเคราะห์ด้วยแสง การลำเลียงและการตอบสนองของพืช (2545 – 2562)
วิทยากรอบรมนักเรียนค่ายชีววิทยาโอลิมปิก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546 – ปัจจุบัน)
วิทยากรอบรมนักเรียนชีววิทยาโอลิมปิกค่ายเตรียมความพร้อม (2546-ปัจจุบัน)
คณะอนุกรรมการดำเนินการจัดส่งผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ (2548 – ปัจจุบัน)
ผู้ช่วยหัวหน้าทีมประเทศไทยในการเข้าร่วม International Biology Olympiad (2546 –2549, 2556-2558)
รองหัวหน้าทีมประเทศไทยในการเข้าร่วม International Biology Olympiad (2550-2552, 2559-2561)
หัวหน้าทีมประเทศไทยในการเข้าร่วม International Biology Olympiad (2553-2554, 2562)
คณะกรรมการพัฒนาข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ เพื่อคัดเลือกนักศึกษาทุน สควค. ระดับปริญญาโททางการศึกษา ปีการศึกษา 2557
คณะกรรมการสอบคัดเลือกทุน พสวท. ศึกษาต่างประเทศ ปีการศึกษา 2547 และ 2557
คณะกรรมการกลั่นกรองข้อสอบ CU-Science วิชาชีววิทยา (2554 – 2557)
คณะอนุกรรมการเทคนิคเกษตร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (2555 – 2561)
คณะกรรมการด้านการปรับปรุงพันธุ์พืชและเขตกรรม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (2562 – ปัจจุบัน)
คณะที่ปรึกษาโปรแกรมเทคโนโลยีฐาน ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (2557 – ปัจจุบัน)
คณะทำงานโครงการมหาวิทยาลัยเด็ก ประเทศไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (2557-2559)
ประธานคณะกรรมการกลั่นกรองข้อสอบวิชาชีววิทยา ในรายวิชาสามัญ 9 วิชา สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ปี พ.ศ. 2558, 2560-2562
Total number of publications 38
Total citations 777
h-index (Scopus) 13
1. Lekklar, C., Pongpanich, M., Suriya-arunroj, D., Chinpongpanich, A., Tsai, H., Comai, L., Chadchawan, S., Buaboocha, T. Genome-wide association study for salinity tolerance at the flowering stage in a panel of rice accessions from Thailand. BMC Genomics. 2019, 20, 76.
2. Boonchai, C., Udomchalothorn, T., Sripinyowanich, S., Comai, L., Buaboocha, T., Chadchawan, S. Rice overexpressing OsNUC1-S reveals differential gene expression leading to yield loss reduction after salt stress at the booting stage. International Journal of Molecular Sciences. 2018, 19, doi:10.3390/ijms19123936.
3. Suratanee, A., Chokrathok, C., Chutimanukul, P., Khrueasan, N., Buaboocha, T., Chadchawan, S., Plaimas, K. Two-state co-expression network analysis to identify genes related to salt tolerance in thai rice. Genes. 2018, 9, doi:10.3390/genes9120594.
4. Yuenyong, W., Chinpongpanich, A., Comai, L., Chadchawan, S., Buaboocha, T. Downstream components of the calmodulin signaling pathway in the rice salt stress response revealed by transcriptome profiling and target identification. BMC Plant Biology. 2018, 18, 335.
5. Chutimanukul, P., Kositsup, B., Plaimas, K., Buaboocha, T., Siangliw, M., Toojinda, T., . . . Chadchawan, S. Data in support of photosynthetic responses in a chromosome segment substitution line of ‘Khao dawk mali 105’ rice at seedling stage. Data in Brief. 2018, 21, 307-312.
6. Chutimanukul, P., Kositsup, B., Plaimas, K., Buaboocha, T., Siangliw, M., Toojinda, T., . . . Chadchawan, S. Photosynthetic responses and identification of salt tolerance genes in a chromosome segment substitution line of ‘Khao dawk mali 105’ rice. Environmental and Experimental Botany. 2018, 155, 497-508.
7. Lekklar, C., Chadchawan, S., Boon-Long, P., Pfeiffer, W., & Chaidee, A. Salt stress in rice: Multivariate analysis separates four components of beneficial silicon action. Protoplasma. 2018, doi:10.1007/s00709-018-1293-2.
8. Nounjan, N., Chansongkrow, P., Charoensawan, V., Siangliw, J. L., Toojinda, T., Chadchawan, S., Theerakulpisut, P. High performance of photosynthesis and osmotic adjustment are associated with salt tolerance ability in rice carrying drought tolerance QTL: Physiological and co-expression network analysis. Frontiers in Plant Science. 2018, 9, doi:10.3389/fpls.2018.01135.
9. Chintakovid, N., Maipoka, M., Phaonakrop, N., Mickelbart, M. V., Roytrakul, S., Chadchawan, S. Proteomic analysis of drought-responsive proteins in rice reveals photosynthesis-related adaptations to drought stress. Acta Physiologiae Plantarum. 2017, 39, 240.
10. Udomchalothorn, T., Plaimas, K., Sripinyowanich, S., Boonchai, C., Kojonna, T., Chutimanukul, P., Comai, L., Buaboocha, T., Chadchawan, S. OsNucleolin1-L expression in Arabidopsis enhances photosynthesis via transcriptome modification under salt stress condition. Plant & Cell Physiology. 2017, 58, 717-734.
11. Chaicherdsakul, T., Yuenyong, W., Roytrakul, S., Chadchawan, S., Wutipraditkul, N., Limpaseni, T., Buaboocha, T. Proteomic analysis of transgenic rice overexpressing a calmodulin calcium sensor reveals its effects on redox signaling and homeostasis. Journal of Plant Biochemistry and Biotechnology. 2017, 26, 235–245.
12. Charoonnart, P., Seraypheap, K., Chadchawan, S., Wangsomboondee, T. Increasing butterhead lettuce yield using organic methods and application of arbuscular mycorrhizal fungi. International Journal of Vegetable Science. 2016, 22, 520-529.
13. Nounjan, N., Siangliw, J. L., Toojinda, T., Chadchawan, S., Theerakulpisut, P. Salt-responsive mechanisms in chromosome segment substitution lines of rice (Oryza sativa L. cv. KDML105). Plant Physiology and Biochemistry. 2016, 103, 96-105.
14. Thuesombat, P., Hannongbua, S., Ekgasit, S., Chadchawan, S. Effects of silver nanoparticles on hydrogen peroxide generation and antioxidant enzyme responses in rice. Journal of Nanoscience and Nanotechnology. 2016, 16, 8030-8043.
15. Kananont, N., Pichyangkura, R., Kositsup, B., Wiriyakitnateekul, W., Chadchawan, S. Improving the rice performance by fermented chitin waste. International Journal of Agriculture and Biology. 2016, 18, 9-15.
16. Pichyangkura, R., Chadchawan, S. Biostimulant activity of chitosan in horticulture. Scientia Horticulturae. 2015, 196, 49–65.
17. Muymas, P., Pichyangkura, R., Wiriyakitnateekul, W., Wangsomboondee, T., Chadchawan, S., Seraypheap, K. Effects of chitin-rich residues on growth and postharvest quality of lettuce. Biological Agriculture & Horticulture. 2015, 31, 108-117.