ศ. ดร.อภินันท์ อุดมกิจ
ศาสตราจารย์
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
มหาวิทยาลัยมหิดล
ทำงานด้วยความมุ่งมั่น เรียนรู้สิ่งใหม่และพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
ประวัติการศึกษา
- พ.ศ. 2534 – พ.ศ. 2539 Doctor of Philosophy (Molecular Biology) University of Edinburgh, UK
- พ.ศ. 2531 – พ.ศ. 2534 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2525 – พ.ศ. 2529 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีวเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการทำงาน
- 2561 ศาสตราจารย์ สถสบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
- 2552-2561 รองศาสตรจารย์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
- พ.ศ. 2549 – พ.ศ. 2552 รองศาสตราจารย์ สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2543 – พ.ศ. 2549 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2543 อาจารย์ สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2539 – พ.ศ. 2540 อาจารย์ สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล
รางวัลเกียรติยศ
- พ.ศ. 2563 รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น รางวัลระดับดี เรื่อง “โมโนโคลนอลแอนติบอดีสำหรับกระตุ้นการวางไข่ในกุ้ง”
- พ.ศ. 2558 รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย
- พ.ศ. 2557 รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจัย รางวัลระดับดีเยี่ยม เรื่อง “การกระตุ้นให้แม่พันธุ์กุ้งวางไข่ด้วยอาร์เอ็นเอสายคู่ที่จำเพาะต่อยีน GIH”
- พ.ศ. 2551 รางวัลอาจารย์ตัวอย่าง สภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลงานด้านบริหาร
- 2563 – 2567 รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล
- 2559-2563 รักษาการแทนรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและพัฒนาหลักสูตร สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลงานด้านการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคมและอื่นๆ
โครงการ MB Science Fair เพื่อเผยแพร่ความรู้และผลงานทางวิทยาศาสตร์ของสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล แก่นักศึกษาและบุคคลทั่วไป
ผลงานด้านวิชาการ/งานวิจัย
ผลงานด้านวิชาการ/งานวิจัย (ย้อนหลัง 5 ปี)
- Wirasit I, Udomkit A, Sathapondecha P. Long noncoding RNA profiling in hepatopancreas of Pacific white shrimp and its role in response to white spot syndrome virus infection. Fish & Shellfish Immunol. 145; 109317. (https://doi.org/10.1016/j.fsi.2023.109317)
- Kluebsoongnoen J, Saensuwanna A, Jozghorban M, Ho T, Szolajska E, Sarnowski T, Udomkit A. 2023. A possible role of the ecdysone receptor in modulating the gonad-inhibiting hormone gene expression in the black tiger prawn, Penaeus monodon. Aquaculture. 569: 739393. (https://doi.org/10.1016/j.aquaculture.2023.739393)
- Rugsanit P, Attasart P, Udomkit A, Tirasophon W. 2021. Characterization of X- box binding protein 1(XBP1) and BiP functions and investigation their roles in YHV replication in P. monodon. CMU J Nat Sci 20(4): e2021090.
- Kluebsoongnoen J, Panyim S, Sarnowski TJ, Udomkit A. Retinoid X receptor modulates vitellogenin gene expression in black tiger shrimp, Penaeus monodon. Comp Biochem Physiol Part A Mol Integr Physiol. 2021;254:110877.
- Ho T, Panyim S, Udomkit A. Assessment of the function of gonad-specific PmAgo4 in viral replication and spermatogenesis in Penaeus monodon. Dev Comp Immunol. 2021;114:103824.
- Sukthaworn S, Panyim S, Udomkit A. Homologues of Piwi control transposable elements and development of male germline in Penaeus monodon. Comp Biochem Physiol Part A Mol Integr Physiol. 2020;250:110807.
- Sanitt P, Panyim S, Udomkit A. An ATP synthase beta subunit is required for internalization of dsRNA into shrimp cells. Fish Shellfish Immunol. 2020;106:948-58.
- Swiatek M, Jancewicz I, Kluebsoongnoen J, Zub R, Maassen A, Kubala S, Udomkit A, Siedlecki JA, Sarnowski TJ, Sarnowska E. Various forms of HIF-1α protein characterize the clear cell renal cell carcinoma cell lines. IUBMB Life. 2020;72 (6):1220-32.
- Kluebsoongnoen J, Panyim S, Udomkit A. Regulation of vitellogenin gene expression under the negative modulator, gonad-inhibiting hormone in Penaeus monodon. Comp Biochem Physiol Part A Mol Integr Physiol. 2020;243:110682.